หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio)
April 02, 2018
หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio) - Assalamu'alaikum sahabat WirasNews di manapun berada. Selamat datang di blog pribadi ini. Oke, artikel yang sedang sahabat baca saat ini berjudul หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio), artikel ini ditulis dengan penuh perasaan, dan semoga sahabat semua dapat memahami informasi yang disajikan di dalamnya. Oh iya, kata kunci untuk memahami isi artikel ini adalah
V-shaped torso,
Waist-hip ratio,
Waist-to-Shoulder ratio,
หุ่น V-shape, selamat membaca.
Judul : หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio)
link : หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio)
หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio)
บทความนี้จะพูดถึง 2 หัวข้อ ได้แก่- อัตราส่วนเอวต่อไหล่ (Waist-to-Shoulder ratio; WSR)
- อัตราส่วนเอวต่อสะโพก (Waist-hip ratio; WHR)
อัตราส่วนเอวต่อไหล่ (Waist-to-Shoulder ratio; WSR)
This is a photo derive from original work by nicubunu (CC0 1.0) |
เป็นหุ่นที่ผู้ชายหลายคนอยากมีกัน
วิธีคำนวณว่าหุ่นเราเป็นรูปตัว V หรือไม่
ต้องใช้การวัดเอา แล้วนำมาคำนวณเป็นอัตราส่วนเอวต่อไหล่ (Waist-to-Shoulder ratio; WSR)
วิธีวัดทำได้โดย
- ใช้การถ่ายรูป แล้วเราวัดเอาจากรูปภาพเลย
- ถ้าไม่มีกล้อง ให้คนอื่นวัดให้ วัดแบบใช้สายวัดทาบตรงไปเลย
ให้วัดจากจุดที่กว้างที่สุดของไหล่
กับ
จุดที่แคบที่สุดของเอว
(ดูตามรูปประกอบบทความ)
เมื่อได้ตัวเลขมา ให้นำมาคำนวณ
อัตราส่วน เอวต่อไหล่ (waist-to-shoulder ratio) = ความกว้างเอว/ความกว้างบ่า
ถ้าได้ออกมาต่ำกว่า 0.75 = หุ่น V-Shape (หุ่นตัว V)
ถ้ามากกว่านี้ แปลว่า เป็นหุ่นแบบคนทั่วไป (ไม่ใช่ตัว V)
ตัวอย่างการคำนวณ เช่น
แบบทาบตรง (แนบไปกับส่วนโค้งของร่างกาย)
เอว (waist) = 35 cm
ไหล่ (shoulder) = 52 cm
เอว หาร ไหล่ = 35/52 = 0.67
WSR = 0.67
แปลได้ว่า คน ๆ นี้ หุ่นเป็นรูปตัววี
--------------------------
อัตราส่วนเอวต่อสะโพก (Waist-hip ratio; WHR)
This is a photo derive from original work by nicubunu (CC0 1.0) |
ยังมีอีกอัตราส่วนนึงที่น่าสนใจ คือ
อัตราส่วนเอวต่อสะโพก (Waist-hip ratio; WHR)อัตราส่วนนี้
- ในผู้ชาย ถ้ามากกว่า 0.90 แปลว่าไขมันในช่องท้องเยอะ
- ในผู้หญิง ถ้ามากกว่า 0.85 แปลว่าไขมันในช่องท้องเยอะ
ไขมันในช่องท้องเยอะ ๆ (โดยเฉพาะคนที่รูปร่างเป็นแบบแอปเปิ้ล (Apple-shaped); อ้วนลงพุง) จะไปเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดได้
ในสัตว์ทดลอง (แน่นอนว่า แปลผลมาใช้กับคนไม่ได้) หนูทดลองที่ไขมันสะสมที่สะโพกเยอะกว่าพุง (รูปร่างแบบลูกแพร์ (Pear-shaped); อ้วนลงสะโพก, ก้นใหญ่) กลับเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 ลดลง
ในสัตว์ทดลอง (แน่นอนว่า แปลผลมาใช้กับคนไม่ได้) หนูทดลองที่ไขมันสะสมที่สะโพกเยอะกว่าพุง (รูปร่างแบบลูกแพร์ (Pear-shaped); อ้วนลงสะโพก, ก้นใหญ่) กลับเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 ลดลง
การวัด
ให้วัดเส้นรอบวง ของจุดที่แคบที่สุดของเอว
กับ
เส้นรอบวง ของจุดที่กว้างที่สุดของสะโพก
(ดูตามรูปประกอบบทความ)
เมื่อได้ตัวเลขมา ให้นำมาคำนวณ
อัตราส่วนเอวต่อสะโพก (Waist-hip ratio; WHR) = เส้นรอบวงของเอว/เส้นรอบวงของสะโพก
ตัวอย่างการคำนวณ เช่น
เส้นรอบวงเอว (waist circumference) = 80 cm
เส้นรอบวงสะโพก (hip circumference) = 70 cm
เอว หาร ไหล่ = 80/70 = 1.14
WHR = 1.14
แปลได้ว่า คน ๆ นี้ อาจจะอ้วนลงพุง
กับ
เส้นรอบวง ของจุดที่กว้างที่สุดของสะโพก
(ดูตามรูปประกอบบทความ)
เมื่อได้ตัวเลขมา ให้นำมาคำนวณ
อัตราส่วนเอวต่อสะโพก (Waist-hip ratio; WHR) = เส้นรอบวงของเอว/เส้นรอบวงของสะโพก
ตัวอย่างการคำนวณ เช่น
เส้นรอบวงเอว (waist circumference) = 80 cm
เส้นรอบวงสะโพก (hip circumference) = 70 cm
เอว หาร ไหล่ = 80/70 = 1.14
WHR = 1.14
แปลได้ว่า คน ๆ นี้ อาจจะอ้วนลงพุง
Demikianlah artikel yang berjudul หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio)
Terima kasih telah membaca artikel หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio), semoga dapat memberi manfaat untuk sahabat semua. Akhir kata, sampai jumpa di postingan artikel lainnya. Wassalamu'alaikum Warohmatullahi Wabarokatuh.
Sahabat telah membaca artikel berjudul หุ่น V-shaped torso (Waist-to-Shoulder ratio) dengan alamat link https://wirasnews.blogspot.com/2012/11/v-shaped-torso-waist-to-shoulder-ratio.html
Advertisement