โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism

โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism - Assalamu'alaikum sahabat WirasNews di manapun berada. Selamat datang di blog pribadi ini. Oke, artikel yang sedang sahabat baca saat ini berjudul โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism, artikel ini ditulis dengan penuh perasaan, dan semoga sahabat semua dapat memahami informasi yang disajikan di dalamnya. Oh iya, kata kunci untuk memahami isi artikel ini adalah Plagiarism detectors, ก๊อปแปะ, โจรกรรมทางวรรณกรรม, selamat membaca.
Judul : โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism
link : โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism


โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism

โดนลอก ก๊อปแปะ (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism
สัญลักษณ์ สื่อถึงการคัดลอกสำเนา
Photo by ben (CC0 1.0)
ผู้ที่ชอบก๊อปแปะ (Copy - Paste) ระวังไว้ให้ดี
ปัจจุบันมีเครื่องมือที่ตรวจสอบบทความ, เอกสาร, รูปภาพต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น

จะลอก จะก๊อปปี้ ไปทั้งดุ้น เหมือนกันแบบเป๊ะ ๆ
หรือ
เอาไปรีไรท์ (rewrite) ใหม่ + เอาคำมาสลับไปสลับมา ลอกมาบางคำ บางประโยค
ก็ตรวจได้อยู่ดี

ปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่ดีขึ้น ทำให้มีวิธีตรวจ คนลอกเว็บ, เนื้อหา (บทความ, นิยาย, วรรณกรรม), รูป, วีดีโอ, ภาพวาด, การ์ตูน, ผลงาน ของเรา (Plagiarism detectors) ที่มีประสิทธิภาพขึ้นมาได้

ตัวอย่างเช่น
Google
วิธีนี้พื้นฐานที่สุด
แค่ก๊อปปี้เนื้อหาต้นฉบับ ใส่ลงไปในช่อง Search
เพียงแค่นี้ก็รู้แล้วว่า ใครลอกเราไปบ้าง
ยิ่งเป็นรุ่น update ใหม่ ๆ ต่อให้เอาไป รีไรท์ (Rewrite) Google ก็ยังหาเจออีกต่างหาก

ตรงช่อง search กดรูปกล้องถ่ายรูป
จากนั้น upload รูปขึ้นไป
เว็บจะแสดงให้เห็นว่า
รูปที่เรา upload ขึ้นไปให้ Google Images ตรวจสอบนั้น
มีเว็บไหนอีก ที่มีรูปเดียวกันนี้

TinEye Reverse Image Search
ไว้ค้นหารูป เพื่อหารูป รูปเดียวกัน ที่อยู่ต่างเว็บ

แค่ใส่เนื้อหาเข้าไป ก็รู้แล้วว่าใครที่ไปลอกเนื้อหาของเรา
หรือ
เราไปลอกเนื้อหามาจากที่ไหนบ้าง

ใส่เว็บของเราเข้าไป ก็จะเจอว่ามีที่ไหน ที่ไปลอกของเรามาบ้าง

Turnitin (เสียเงิน)
สามารถตรวจได้หมด ว่าเนื้อหาเรา ไปลอกชาวบ้านมากี่% มีความคล้ายคลึงกับเนื้อหาจากที่อื่นกี่ %
แยกแหล่งที่มาได้ทั้งหมด
จะเอาประโยคหน้าสุดย้ายไปท้ายสุด หรือ เอามาสลับมั่ว ๆ แค่ไหนก็ตรวจได้
ลอกมา 100 บทความ โปรแกรมจะแยกให้ว่า ใน 1 ย่อหน้า ลอกมาจากแหล่งไหนบ้าง เว็บอะไร ปีอะไร มีความเหมือนกันกี่ %
(ในทางกลับกัน เราก็เห็นได้ว่า ใครไปลอกเรามาเหมือนกัน)

ผลงานทุกชิ้น (บทความ, เพลง, หนัง, งานศิลปะ, รูปภาพ) เมื่อทำขึ้นมาแล้ว ถือว่ามีลิขสิทธิ์
ถ้าเอาไปใช้สุ่มสี่สุ่มห้า ไม่ดูให้ดี ไม่ขออนุญาตเจ้าของให้ดีก่อน ถือว่าผิด
แนวคิดที่ว่าต่อให้ผลงานนั้น ๆ มีลิขสิทธิ์ แต่เราใส่ที่มาให้ ใส่เครดิตให้ เป็นอันใช้ได้ 
แบบนี้ถือว่าไม่ถูก
ต่อให้ใส่ที่มา ก็ใช่ว่าเจ้าของเขาอนุญาต (บางกรณีต้องส่งจดหมายไปถามเจ้าของก่อน แล้วขึ้นอยู่กับเจ้าของว่าจะเก็บเงินไหม หรือ อนุญาตให้เอาไปทำอะไรได้บ้าง, บางกรณีก็ใช้ Creative Commons, บางกรณีก็แจกฟรี, บางกรณีก็เป็นสาธารณสมบัติ (Public domain))
ถ้าเจ้าของไม่เอาเรื่อง ก็แล้วไป
แต่ถ้าเจ้าของเอาเรื่องขึ้นมา คงไม่สนุกแน่นอน

อย่าลืมว่า การก๊อปแปะ เราทำ 1 ครั้ง เราทำได้
แต่ถ้าจะทำตลอดไป คงไม่ได้แน่นอน

ในระดับเด็ก ๆ ที่ก๊อปแปะมาส่งการบ้าน คุณครูอาจจะไม่ว่าอะไร
แต่ในระดับวงการวิชาการ, การค้า
ถ้าพลาดขึ้นมา คนอื่นเขาคงจะไม่ใจดีเหมือนคุณครูของเรา

หากเอาใจเขามาใส่ใจเรา
เจ้าของผลงาน ต้องอาศัยเวลา, ทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
ถ้าเป็นเรา ใช้เวลานับ 10 ปี ประดิษฐ์ของชิ้นนึงขึ้นมา แต่เพื่อนร่วมห้อง ขโมยไปเป็นของตัวเองภายใน 1 วัน
เราจะรู้สึกอย่างไร

ในบ้านเรา มีผู้มีความรู้ พยายามรณรงค์เรื่อง
"การคัดลอกผลงาน การขโมยความคิด การโจรกรรมทางวรรณกรรม"
แต่ก็มีคนสนใจน้อย

สนับสนุนให้พยายามทำการบ้านส่งครูด้วยตัวเอง ไม่ก๊อปแปะ
เมื่อความรู้มากขึ้น
เขียนได้เก่งขึ้น
ตกผลึกความคิดได้ดีขึ้น
ต่อไปก็เขียนเองได้

สุภาษิตจีนโบราณ สอนไว้ว่า
"ถ้าท่านให้ปลาแก่คนจน เขาจะมีปลากินเพียงแค่วันเดียว แต่ถ้าท่านสอนวิธีจับปลาให้เขา เขาจะมีปลากินตลอดชีวิต" 

Demikianlah artikel yang berjudul โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism

Terima kasih telah membaca artikel โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism, semoga dapat memberi manfaat untuk sahabat semua. Akhir kata, sampai jumpa di postingan artikel lainnya. Wassalamu'alaikum Warohmatullahi Wabarokatuh.

Sahabat telah membaca artikel berjudul โดนก๊อป (โจรกรรมทางวรรณกรรม) Plagiarism dengan alamat link https://wirasnews.blogspot.com/2012/04/plagiarism.html
Advertisement